กฏ กติกา มารยาท การใช้บันไดเลื่อนและทางเลื่อน
ในอดีตที่ผ่านมาระบบบ้านเราไม่ว่าจะเป็นระบบจราจร ทางเดินเท้า บันไดเลื่อน (escalator) หรือ ทางเดินเลื่อนที่สนามบิน เรามักจะคุ้นเคยกับการชิดช้าย เช่นถ้าเป็นรถวิ่งช้าก็ให้ชิดซ้าย คนเดินช้าก็ให้ชิดซ้ายเช่นกันและเว้นช่องทางด้านขวามือไว้สำหรับคนที่ต้องเดินทางเร็วกว่าหรือรีบเร่ง
แต่ในช่วงหลังๆ (ไม่ทราบแน่นอนว่าได้เริ่มต้นเป็นทางการตั้งแต่เมื่อไหร่) ในบางสถานที่ก็ได้รณรงค์ให้เปลี่ยนมาใช้ระบบที่คนไทยไม่ค่อยจะคุ้นเคยนั่นคือเปลี่ยนเป็นจากชิดซ้ายมาชิดขวาแทน เช่น บันไดเลื่อนรถไฟฟ้า BTS บันไดเลื่อนและทางเลื่อนที่สนามบินและบางสถานที่ ส่วนระบบจราจรยังคงระบบเดิมนั่นคือระบบพวงมาลัยขวาและขับช้าชิดซ้าย
ผู้เขียนเองไม่ทราบแน่ชัดทั้งหมดว่าในแต่ละประเทศเขาใช้ระบบไหนกันบ้าง แต่เท่าที่ทราบมีดังนี้ ,,,,
ในยุโรปและหลายๆประเทศในแถบนั้นเขาใช้รถพวงมาลัยซ้ายและขับช้าชิดขวา ส่วนบรรไดเลื่อนก็ใช้ระบบชิดขวาและเคลียร์ช่องทางด้านซ้ายไว้สำหรับให้คนที่ต้องการเดินหรือรีบเร่ง ส่วนแคนาดาและอเมริกาก็ใช้ระบบเดียวกัน
ส่วนญี่ปุ่นนั้นมีใช้ทั้งสองระบบโดยแยกเป็นพื้นที่ .... ถ้าเป็นพื้นที่ คันโต ( Kanto area) เช่นโตเกียวก็จะใช้ระบบยืนชิดซ้ายดังกรณีที่1 ของรูป ส่วนถ้าเป็น คันไซ (Kansai) ก็จะใช้ระบบกรณีที่ 2 นั่นคือยืนชิดขวาและเว้นช่องทางเดินด้านซ้าย
สิงคโปร์ รถใช้ระบบพวงมาลัยขวา(ขับช้าชิดซ้ายขับเร็วไปขวา) ส่วนทางเดินเท้าและบรรไดเลื่อนก็ใช้ระบบเดียวกับระบบจราจรนั่นคือถ้ายืนชิดช้าย เดินเร็วหรือรีบเร่งให้ไปช่องขวา
ส่วนบ้านเราถึงแม้ระบบจราจรและทางเท้าผู้คนจะคุ้นเคยกับระบบชิดซ้าย
แต่หลังจากที่มีการรณรงค์ให้ใช้ระบบยืนชิดขวามาได้สักระยะก็ทำให้มีผู้คนจำนวนไม่น้อยเริ่มปรับตัวและคุ้นเคย
จริงๆแล้วการปรับตัวให้เข้ากับ กฏ กติกา มารยาท นั้นก็นับได้ว่าเป็นเรื่องดีที่ควรปฏิบัติและน่ายกย่อง แต่อย่างไรก็ตามการทำตามกฏของอีกที่หนึ่งใช่ว่าจะเป็นอะไรที่ถูกต้องเสมอไปดังคำโบราณได้เคยกล่าวไว้ " หากเข้าเมืองตาหลิ่ว ก็ให้หลิ่วตาตาม " เพราะหากว่าท่านหลงลืมคำสอนนี้ ท่านจะถูกมองในแง่งบในสายตาของคนท้องถิ่น
เหตุที่ผู้เขียนได้หยิบเรื่องนี้ขึ้นมาเล่าใหม่ ก็เพราะว่าความคุ้นเคยในเรื่องนี้ของคนไทยเริ่มสร้างปัญหาและถูกพูดถึงในแง่งบในสายตาคนท้องถิ่นของบางประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่สิงคโปร์ที่เขาใช้ระบบชิดซ้ายและเดินชิดขวา....
ที่ผ่านมาต้องยอมรับว่ามีคนไทยจำนวนไม่น้อยได้พกพาเอาความคุ้นเคยมาจากเมืองไทยติดตัวมาด้วย กล่าวคือเมื่อเดินทางมาถึงก็ไม่มีการสังเกตุกฏ กติกา มารยาทและสภาพแวดล้อมรอบข้างและยังคงยืนชิดขวาเหมือนอย่างเช่นเคย ซึ่งก็เป็นอะไรที่สร้างความหงุหงิให้กับคนท้องถิ่นพอสมควร
คนสิงคโปร์ส่วนใหญ่มักเป็นพวกที่นิยมความรวดเร็วว่องไวรวมถึงขี้บ่นและชอบคอมเพลน ( Complain)เป็นกิจวัตร ดังนั้นเมื่อเขาเห็นคนไทยหรือใครก็ตามที่่ยืนทอดน่องยู่กับที่หรือบ้างก็ยืนหมกมุ่นอยู่กับสมาร์ทโฟนอยู่บนช่องทางขวามือ ก็มักจะมีคำถามว่าทำไมคนไทยจึงมีนิสัยเหมือนกับคนบางประเทศอย่างเช่นจีนหรืออินเดีย+บังคลาเทศเลย ....
สำหรับผู้เขียนเองได้ยินคำถามนี้บ่อยๆ และได้ฟังทีไรก็รู้สึกซึมไปชั่วขณะเช่นกัน....
และเพื่อภาพลักษณ์โดยรวมที่ดี จึงได้เรียบเรียงเรื่องนี้มาเพื่อแชร์ประสบการณ์ที่ได้รับมาเล่าสู่กันฟังและฝากบอกเพื่อนๆทุกท่านว่า ทุกครั้งที่มีการเดินทางไปที่ใดก็ตามก็อย่าลืมคำสอนที่เป็นอมตะวาจาว่า....เข้าเมืองตาหลิ่วก็ให้หลิ่วตาม นะจ๊ะๆ.....
_/|\_ thanks ที่ได้ติดตามอ่านจนจบ ..... ผิดพลาดหรือมีข้อดีข้อเสียประการใด รบกวนช่วยคอมเมนท์ด้านล่างนะครับ...และที่สำคัญอย่าลืมกดป้ายผู้สนับสนุนให้สักคลิกด้วยนะครับ
ในอดีตที่ผ่านมาระบบบ้านเราไม่ว่าจะเป็นระบบจราจร ทางเดินเท้า บันไดเลื่อน (escalator) หรือ ทางเดินเลื่อนที่สนามบิน เรามักจะคุ้นเคยกับการชิดช้าย เช่นถ้าเป็นรถวิ่งช้าก็ให้ชิดซ้าย คนเดินช้าก็ให้ชิดซ้ายเช่นกันและเว้นช่องทางด้านขวามือไว้สำหรับคนที่ต้องเดินทางเร็วกว่าหรือรีบเร่ง
แต่ในช่วงหลังๆ (ไม่ทราบแน่นอนว่าได้เริ่มต้นเป็นทางการตั้งแต่เมื่อไหร่) ในบางสถานที่ก็ได้รณรงค์ให้เปลี่ยนมาใช้ระบบที่คนไทยไม่ค่อยจะคุ้นเคยนั่นคือเปลี่ยนเป็นจากชิดซ้ายมาชิดขวาแทน เช่น บันไดเลื่อนรถไฟฟ้า BTS บันไดเลื่อนและทางเลื่อนที่สนามบินและบางสถานที่ ส่วนระบบจราจรยังคงระบบเดิมนั่นคือระบบพวงมาลัยขวาและขับช้าชิดซ้าย
ผู้เขียนเองไม่ทราบแน่ชัดทั้งหมดว่าในแต่ละประเทศเขาใช้ระบบไหนกันบ้าง แต่เท่าที่ทราบมีดังนี้ ,,,,
ในยุโรปและหลายๆประเทศในแถบนั้นเขาใช้รถพวงมาลัยซ้ายและขับช้าชิดขวา ส่วนบรรไดเลื่อนก็ใช้ระบบชิดขวาและเคลียร์ช่องทางด้านซ้ายไว้สำหรับให้คนที่ต้องการเดินหรือรีบเร่ง ส่วนแคนาดาและอเมริกาก็ใช้ระบบเดียวกัน
ส่วนญี่ปุ่นนั้นมีใช้ทั้งสองระบบโดยแยกเป็นพื้นที่ .... ถ้าเป็นพื้นที่ คันโต ( Kanto area) เช่นโตเกียวก็จะใช้ระบบยืนชิดซ้ายดังกรณีที่1 ของรูป ส่วนถ้าเป็น คันไซ (Kansai) ก็จะใช้ระบบกรณีที่ 2 นั่นคือยืนชิดขวาและเว้นช่องทางเดินด้านซ้าย
ที่มา : http://www.manner-mode.com/standing-on-japanese-escalator/ |
สิงคโปร์ รถใช้ระบบพวงมาลัยขวา(ขับช้าชิดซ้ายขับเร็วไปขวา) ส่วนทางเดินเท้าและบรรไดเลื่อนก็ใช้ระบบเดียวกับระบบจราจรนั่นคือถ้ายืนชิดช้าย เดินเร็วหรือรีบเร่งให้ไปช่องขวา
ส่วนบ้านเราถึงแม้ระบบจราจรและทางเท้าผู้คนจะคุ้นเคยกับระบบชิดซ้าย
แต่หลังจากที่มีการรณรงค์ให้ใช้ระบบยืนชิดขวามาได้สักระยะก็ทำให้มีผู้คนจำนวนไม่น้อยเริ่มปรับตัวและคุ้นเคย
จริงๆแล้วการปรับตัวให้เข้ากับ กฏ กติกา มารยาท นั้นก็นับได้ว่าเป็นเรื่องดีที่ควรปฏิบัติและน่ายกย่อง แต่อย่างไรก็ตามการทำตามกฏของอีกที่หนึ่งใช่ว่าจะเป็นอะไรที่ถูกต้องเสมอไปดังคำโบราณได้เคยกล่าวไว้ " หากเข้าเมืองตาหลิ่ว ก็ให้หลิ่วตาตาม " เพราะหากว่าท่านหลงลืมคำสอนนี้ ท่านจะถูกมองในแง่งบในสายตาของคนท้องถิ่น
เหตุที่ผู้เขียนได้หยิบเรื่องนี้ขึ้นมาเล่าใหม่ ก็เพราะว่าความคุ้นเคยในเรื่องนี้ของคนไทยเริ่มสร้างปัญหาและถูกพูดถึงในแง่งบในสายตาคนท้องถิ่นของบางประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่สิงคโปร์ที่เขาใช้ระบบชิดซ้ายและเดินชิดขวา....
ที่ผ่านมาต้องยอมรับว่ามีคนไทยจำนวนไม่น้อยได้พกพาเอาความคุ้นเคยมาจากเมืองไทยติดตัวมาด้วย กล่าวคือเมื่อเดินทางมาถึงก็ไม่มีการสังเกตุกฏ กติกา มารยาทและสภาพแวดล้อมรอบข้างและยังคงยืนชิดขวาเหมือนอย่างเช่นเคย ซึ่งก็เป็นอะไรที่สร้างความหงุหงิให้กับคนท้องถิ่นพอสมควร
คนสิงคโปร์ส่วนใหญ่มักเป็นพวกที่นิยมความรวดเร็วว่องไวรวมถึงขี้บ่นและชอบคอมเพลน ( Complain)เป็นกิจวัตร ดังนั้นเมื่อเขาเห็นคนไทยหรือใครก็ตามที่่ยืนทอดน่องยู่กับที่หรือบ้างก็ยืนหมกมุ่นอยู่กับสมาร์ทโฟนอยู่บนช่องทางขวามือ ก็มักจะมีคำถามว่าทำไมคนไทยจึงมีนิสัยเหมือนกับคนบางประเทศอย่างเช่นจีนหรืออินเดีย+บังคลาเทศเลย ....
สำหรับผู้เขียนเองได้ยินคำถามนี้บ่อยๆ และได้ฟังทีไรก็รู้สึกซึมไปชั่วขณะเช่นกัน....
และเพื่อภาพลักษณ์โดยรวมที่ดี จึงได้เรียบเรียงเรื่องนี้มาเพื่อแชร์ประสบการณ์ที่ได้รับมาเล่าสู่กันฟังและฝากบอกเพื่อนๆทุกท่านว่า ทุกครั้งที่มีการเดินทางไปที่ใดก็ตามก็อย่าลืมคำสอนที่เป็นอมตะวาจาว่า....เข้าเมืองตาหลิ่วก็ให้หลิ่วตาม นะจ๊ะๆ.....
_/|\_ thanks ที่ได้ติดตามอ่านจนจบ ..... ผิดพลาดหรือมีข้อดีข้อเสียประการใด รบกวนช่วยคอมเมนท์ด้านล่างนะครับ...และที่สำคัญอย่าลืมกดป้ายผู้สนับสนุนให้สักคลิกด้วยนะครับ
ลิงค์เหตุผลที่ไทยรณรงค์ให้ชิดขวาบนบรรไดเลื่อน => ระเบียบการใช้บรรไดเลื่อน
No comments:
Post a Comment